คณะศึกษาศาสตร์ :: มหาวิทยาลัยนเรศวร
สารสนเทศ

ผลงานวิจัย/วิทยานิพนธ์/IS (ข้อมูลจากระบบเก่า 2554)

วิทยานิพนธ์(คณะศึกษาศาสตร์)

วิทยานิพนธ์(มหาวิทยาลัย)

ค้นหาจาก :

ปีการศึกษา ชื่อผลงาน วันที่เผยแพร่

การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

2564การพัฒนาทักษการคิดเชิงคำนวณด้วยกิจกรรมการเรียนรู้สืบเสาะแบบ 5Esร่วมกับบอร์ดเกมและการเขียน Formula Coding เรื่อง ประชากรในสถานการณ์ระบาด COVD-19 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (วิรุฬห์ สิทธิเขตรกรณ์)22 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ เรื่ิง การเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารของนักเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ธันย์ชนก ผินอินทร์)22 กรกฏาคม 2564
2564การส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาผ่านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การตอบสนองของพืช (มธุละดา วีระพันธุ์)22 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณ เรื่อง วงจรไฟฟ้า ด้วย CICP model ร่วมกับการเขียนโปรแกรมแบบบล็อกคำสั่ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ดำรงฤทธิ์ คุณสิน)21 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาทักษะการจดจำรูปแบบและทักษะการออกแบบอัลกอริทิมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมที่ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (ลักษิกา จาเลิศ)21 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปรากฎการณ์เป็นฐาน เรื่อง ระบบหายใจ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ (เกตน์สิริ สุวรัตน์)21 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้โดยใช้ MCIS เพื่อพัฒนามโนมติ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ณัฎยา ลิ้มวัฒนา)21 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดของเดอโบโน เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันสื่อ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (อนงค์นาถ เก่งตรง)21 กรกฏาคม 2564
2564การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาอิงสถานที่ เพื่อส่งเสริมการรู้สิ่งแวดล้อม เรื่อง มนุษย์กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (วุฒิพงศ์ จันฝุ่น)21 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน เรื่องวัสุดและการใช้ประโยชน์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (ฐานิตดา นัดที)20 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามรูปแบบ 3CM (Cool-Critical-Creative-Meaningful) ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่อง เศษส่วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (นิสา คีรีรมย์)20 กรกฏาคม 2564
2564การจีดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด FEM ที่พัฒนาความสามารถในการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ศิริพร คล่ายยา)20 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ภายใต้บริบทปรัชญาของเสรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ (ปฐมพร เพียราช)19 กรกฏาคม 2564
2564การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดโครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง ปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ธนิษฐา โพธิ์อ่อง)19 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ เรื่องร้อยละและอัตราส่วน สำหับนัเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6(วรนุช หลวงจันทร์)19 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตสาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการเชื่องโยงทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (ประมุช จันทวิ)19 กรกฏาคม 2564
2564ปฎิบัติการทางคณิตศาสตร์ตามแนวทฤษฎีโซเชียลคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับโปรแกรม GeoGebra ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง วงกลมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (สิทธชัย พานิชย์วิไล)16 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแ้กปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่อง รูปหลายเหลี่ยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ปิยาภรณ์ ขาวทอง)16 กรกฏาคม 2564
2564การจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวปฎิบัติการสอน 5 ขั้นเพื่อส่งเสริมการอภิปรายทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (นภัสสร งามขำ)16 กรกฏาคม 2564
2564การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือกับเกมกระดาษที่ส่งเสริมทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การคูณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กรณีศึกษาสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้(อมรรัตน์ จุลนีย์)16 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนาเกมการศึกษาโดยใช้สื่อจากธรรมชาติเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 (อัชราภรณ์ ฟักปลั่ง)15 กรกฏาคม 2564
2564ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ชุมนุมป้องกันภัยโรคระบาดตามแนวคิด Child-to-Child Approach ที่ส่งผลต่อความรู้และความตระหนักในการเตรียมความพร้อมรับมือโรคระบาด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (พิชญาภรณ์ เกิดผล)15 กรกฏาคม 2564
2564การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาาาอังกฤษแบบเน้นภาระงานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียน สำหรับรักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (วารุณี พุ่มจันทร์)15 กรกฏาคม 2564
2564การสร้างแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงระบบ(Systems thinking) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปืที่ 5 (ณัฐารส ภูคา)15 กรกฏาคม 2564
2564การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญตามเกณฑ์ประเมินคุณภาพงานลูกเสือในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 1 (ขัตติวรรธน์ ทวีถิ่น)2 กรกฏาคม 2564
2564การบริหารงานวิชาการที่ส่งเสริมทักษะการคิดของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 (ชุติมณฑ์ จันทะคุณ)2 กรกฏาคม 2564
2564สภาพและแนวทางพัฒนาการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดพิจิตร (จารุณี ปิตโต)2 กรกฏาคม 2564
2564ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึึกษามัธยมศึกษา เขต 41 สหวิทยาเขตบางมูลนาก (ชลชรัส นุกอง)2 กรกฏาคม 2564
2564การบริหารการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนเขตพื้นท่พิเศษ จังหวัดเลย (เพชรวลี คงทัน)2 กรกฏาคม 2564
2564ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับการทำงานเป็นทีมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 (แก้วนภา พิมพา)2 กรกฏาคม 2564



คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาคาร ED 1 ชั้น 1 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
โทรศัพท์ 055-962411 โทรสาร 055-962402 Copyright (c) 2017 All rights reserved.
พัฒนาโดย: หน่วยสารสนเทศ